ความเป็นมาของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง ที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของนิยาม “๓ ห่วง ๒ เงอนไข” ท คณะอนกรรมการขบเคล อนเศรษฐกจพอเพยง สำนกงานคณะกรรมการพฒนาการเศรษฐกจและสงคม แห่งชาต นำมาใช้ในการรณรงค์เผยแพรปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผานชองทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซง ประกอบด้วยความ “พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน” บนเงื่อนไข “ความรู้” และ “คุณธรรม” ระบบเศรษฐกจพอเพยงมงเนนใหบคคลสามารถประกอบอาชพไดอยางยงยน และใชจายเงนใหไดมาอยาง พอเพียงและประหยัด ตามกำลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน และถ้ามีเงินเหลอ ก็แบ่ง เกบออมไวบางสวน ชวยเหลอผอนบางสวน และอาจจะใชจายมาเพอปจจยเสรมอกบางสวน สาเหตทแนว ทางการดำรงชีวิตอย่างพอเพยง ไดถกกลาวถงอย่างกว้างขวางในขณะน เพราะสภาพการดำรงชีวิตของสังคม ทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง สร้าง หรือกระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกิน กวาปัจจยในการดำรงชวิต เชน การบรโภคเกินตว ความบนเทงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การ แตงตวตามแฟช น การพนนหรอเส ยงโชค เปนตน จนทำใหไมมเงนเพยงพอเพอตอบสนองความตองการ เหลานน สงผลใหเกดการกหนยมสน เกดเปนวฏจกรทบคคลหนงไมสามารถห ลดออกมาได ถาไมเปลยน แนวทางในการดำรงชีวิต
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่วง
๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
๒. ความมเหตผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพัยงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
๓. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้าน ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ตาง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทงใกล้และ ไกล
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒ เงื่อนไข
๑. เงี่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะนำความรู้เหลานั้นมาพิจารณาให้เชื่ิอมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังใน ขั้นปฏิบัต
๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อสัตย์ สุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ ๕ ส่วน
๑. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่ และปฏฺิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมี พื้นฐานมาจาก
วิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิง ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤตเพื่อความมั่นคง และความยั่งยืน ของการพัฒนา
๒. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกตใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดบ โดยเน้น การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
๓. คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อม ๆ กัน ดังน
๓.๑ ความพอประมาณ หมายถง ความพอดท ไม่น้อยเกินไป และไมมากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นเช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
๓.๒ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป
อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำ นั้นๆ อย่างรอบคอบ
๓.๓ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้ พร้อมรับผลกระทบและ การ เปลี่ยนแปลงด้านต่างๆที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึง ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน อนาคตทั้งใกล้และไกล
๔. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้ง
ความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน
๔.๑ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้านความรอบคอบ ที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ ระมัดระวังในขั้นปฏิบัต
๔.๒ เงอนไขคุณธรรม ทจะตองเสรมสรางประกอบดวยมีความตระหนกในคณธรรม มความ
ซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพยรใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต